RIGHT TO
CLEAN AIR
ROADSHOW
RIGHT TO
CLEAN AIR
ROADSHOW
ทีมงานของเราเป็นทีมงานอาสาสมัคร 100%
พวกเราเกิดขึ้นมาจากเครือข่ายพันธมิตรที่มาร่วมกันด้วยใจ เพื่อผลักดันการแก้ปัญหามลพิษทางอากาศอย่างยั่งยืน
ร่วมงานกับเราเพื่อช่วยกันผลักดันการมีซึ่งสิทธิในการเข้าถึงอากาศสะอาดหายใจของประชาชนในประเทศไทยอย่างเท่าเทียมกันทุกคน
ดูรายชื่อวิทยากร, ทีมงานเบื้องหลัง, และข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
Circular Design Lab และ เครือข่ายอากาศสะอาด ได้ที่นี่
วิทยากรสำหรับ Digital Roadshow
กิจกรรมตลอดช่วงของ Digital Roadshow จะมีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
วิทยากรสำหรับกิจกรรมเดือนสิงหาคม
19 สิงหาคม 2563: The Cause and the Science
รศ.ดร.วิษณุ อรรถวานิช, คณะเศรษฐศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์
คุณเพ็ญโฉม แซ่ตั้ง, ผู้อำนวยการมูลนิธิบูรณะนิเวศ
ดร.วนิสา สุรพิพิธ, นักวิจัยวิทยาศาสตร์บรรยากาศ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
ดร.นพ.วิรุฬ ลิ้มสวาท, หัวหน้าสำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
26 สิงหาคม 2563: From Air Pollution to Air Assets
Nikhil Kaushik, Co-Founder of Graviky Labs, Co-founder
Anirudh Sharma, CEO of Graviky Labs, CEO
Simon Widmer, Design Network and Creative Lead, Ellen MacArthur Foundation
Soranun Choochut, Founder and CEO of ETRAN
Natalie Ortiz, Student Design Awards Co-Lead, The RSA
วิทยากรสำหรับกิจกรรมเดือนกันยายน
9 กันยายน 2563: The Cost and the Impact
คุณอาทิตย์ โกวิทวรางกูร, นักจัดรายการจากคลื่นวิทยุ FM 96.5
คุณวีณาริน ลุลิตานนท์, ผู้ร่วมก่อตั้งเครือข่ายอากาศสะอาด
รศ.ดร.วิษณุ อรรถวานิช, คณะเศรษฐศาสตร์ ม.เกษตรศาสตร์
คุณศุภกร ศิริสุนทร, ผู้ร่วมก่อตั้ง กลุ่มอากาศสะอาดเพื่อคนขอนแก่น
คุณสุภา มนูญศักดิ์, ผู้ก่อตั้ง ชมรมไทสิกขา จังหวัดขอนแก่น
Vijo Varghese, Co-Founder, Ourland Thailand
ศ.ดร.พีระพงศ์ ทีฆสกุล, ผอ.สถาบันวิจัยมลพิษทางอากาศและผลกระทบต่อสุขภาพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
23 กันยายน 2563: The Creative Response
คุณทวีศักดิ์ มูลสวัสดิ์, ศิลปิน
Sereyrath Mech, ช่างภาพมืออาชีพ
ผู้ชนะเลิศจากการแข่งขัน Youth for SDGs Case Competition (Air Pollution) ระดับมัธยมศึกษา (ประกาศผลวันที่ 5 กันยายน 2563)
วิทยากรสำหรับเดือนตุลาคม
7 ตุลาคม 2563: The Gaps that Remain
คุณวีณาริน ลุลิตานนท์, ผู้ร่วมก่อตั้งเครือข่ายอากาศสะอาด
คุณเพ็ญโฉม แซ่ตั้ง, ผู้อำนวยการมูลนิธิบูรณะนิเวศ
28 ตุลาคม 2563: Systemic Design Workshop
นำกิจกรรมโดยทีมงาน Circular Design Lab
วิทยากรสำหรับเดือนพฤศจิกายน
11 พฤศจิกายน 2563: Towards Solutions
คุณวีณาริน ลุลิตานนท์, ผู้ร่วมก่อตั้งเครือข่ายอากาศสะอาด
คุณธันวา ไกรฤกษ์, โฆษกพรรคกล้า
Matthew Perkins, UNESCAP
28 พฤศจิกายน 2563: Democratizing Access Workshop
นำกิจกรรมโดยทีมงาน Circular Design Lab
วิทยากรสำหรับเดือนธันวาคม
2 ธันวาคม 2563: Regional Idea Salon Workshop
นำกิจกรรมโดยทีมงาน Circular Design Lab
ทีมงานเบื้องหลัง Digital Roadshow
ทีมงานเบื้องหลัง Digital Roadshow คือทีมอาสาสมัครจาก Circular Design Lab และ เครือข่ายอากาศสะอาด
เครือข่ายอากาศสะอาด
ผู้ร่วมก่อตั้งเครือข่ายอากาศสะอาดและ Circular Design Lab Co-Lead
คุณกัญฐณา อภิรภากรณ์
เครือข่ายอากาศสะอาด
Social Entrepreneur และ
ผู้ก่อตั้ง Infinite Vision
ดร.ศรัณยุ หมั้นทรัพย์
เครือข่ายอากาศสะอาด
สำนักส่งเสริมการเมืองภาคพลเมือง
สถาบันพระปกเกล้า
Circular Design Lab
Head of Exploration, UNDP Regional Innovation Centre Asia Pacific
Circular Design Lab
Impact Investor. Fund Advisor. Founder of Blockchain Mango
Circular Design Lab
Senior Air Traffic
Management Officer
บ. วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด
ที่ปรึกษา
คณะที่ปรึกษาที่คอยสนับสนุนและให้คำแนะนำในการทำงานของเรา
International Advisor
ประจำประเทศสหรัฐอเมริกา
Global Lead for Air Quality,
World Resources Institute
Regional Advisor
ประจำประเทศฟิลิปปินส์
Independent Consultant, Rockefeller Foundation, Recent Director for Asia
Regional Advisor
ประจำประเทศไทย
ผู้ร่วมก่อตั้ง และ Head of Partnerships โครงการ Social Giver
Regional Advisor
ประจำประเทศไทย
Regional Manager, Aspen Network of Development Entrepreneurs (ANDE)
เกี่ยวกับเครือข่ายพันธมิตร
เกี่ยวกับเครือข่ายอากาศสะอาด
เครือข่ายอากาศสะอาด คือการรวมตัวกันของกลุ่มนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญจากหลากหลายสาขา ที่มาร่วมกันทำงานเพื่อผลักดันการแก้ปัญหามลพิษทางอากาศในประเทศไทยอย่างเป็นระบบและยั่งยืน ผ่านการเผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจน และการขับเคลื่อนความตื่นตัวของภาคประชาชนในการผลักดันการควบคุมมลพิษในระดับนโยบายและกฎหมาย
เกี่ยวกับ CDL
The Circular Design Lab เริ่มเปิดตัวในกรุงเทพในช่วงต้นปี 2562 ในลักษณะของกลุ่มอาสาสมัครที่มาร่วมกันทดลองออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม โดยในปี 2562 กลุ่ม CDL ได้มุ่งเน้นการใช้กระบวนการ Systemic Design เพื่อแก้ปัญหาขยะพลาสติก (Waste Management), มลพิษทางอากาศ (Air Pollution) และระบบแฟชั่นแบบไม่ยั่งยืน (Unsustainable Fast Fashion) โดย Digital Roadshow นี้คือหนึ่งในผลงานของทีมมลพิษทางอากาศของ CDL
Make Your Voice Heard